ชื่อไทย : เอื้องสายกิ่งดำ, เอื้องเมี่ยง
ชื่อท้องถิ่น :  
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrobium gratiosissimum Rchb.f.
ชื่อวงศ์ : ORCHIDACEAE
ลักษณะวิสัย : กล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ลำต้น :
ลำผอม ทอดเอนหรือห้อยลง ยาว 30 – 70 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางต้น 6 – 8 มม. โคนสอบเรียว ปล้องใต้ข้อป่องพองเล็กน้อย ผิวเรียบหรือเป็นร่องตามยาวสีเขียวอมม่วงหรือม่วงคล้ำจนเกือบดำ
ใบ :
รูปไข่แกมรูปใบหอก ขนาด     6 – 8 ? 2 – 2.5 ซม. แผ่นใบบางและร่วงไปเมื่อต้นเจริญเต็มที่
ดอก :
เกิดตามข้อของต้นที่ทิ้งใบแล้ว เป็นช่อสั้นๆ มี 1 – 3ดอก ก้านดอกยาว 2.5 – 3 ซม. กลีบขาวอมม่วงอ่อนปลายสุดสีชมพูอมม่วง กลีบปากด้านบนมีขนสั้นละเอียด ขนาดดอก 3 – 3.5 ซม.
ผล :
ระยะติดดอก - ผล :
เริ่มติดดอก : กุมภาพันธ์ สิ้นสุดระยะติดดอก : เมษายน
เริ่มติดผล : สิ้นสุดระยะติดผล :

สภาพทางนิเวศวิทยา :

นิเวศวิทยา ป่าดิบแล้งทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ถิ่นกำเนิด

การกระจายพันธุ์ อินเดีย จีน พม่า และลาว

การใช้งานด้านภูมิทัศน์

การปลูกและการขยายพันธุ์ :
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ :
แหล่งอ้างอิง : [1] อบฉันท์ ไทยทอง. 2552. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 16. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร.
ประเภทของการใช้ประโยชน์ :
กล้วยไม้
ที่อยู่ :
หมายเหตุ : ปัจจุบันพอน้อยลงมาก
รูปพรรณไม้ :
   
Copyright © 2011 Royalpark Rajapruek All rights reserved.
ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100
โทร 053-114110-5 แฟกซ์ 053-114196 E-Mail : [email protected]
เริ่มใช้งานระบบเมื่อ 1 มิถุนายน 2554